
เมื่อคนพบเจอปัญหา เราก็มีวิธีจัดการกับมันหลากแบบต่างกันไปครับ บางคนเลือกที่จะหนี บางคนเลือกที่จะเผชิญหน้า บางคนเลือกที่จะค้นหาในกรณีที่ยังหาไม่เจอว่าไอ้ตัวที่ทำให้เราเจ็บช้ำ ต้องระกำใจนั้นคืออะไร
เมื่อคนพบเจอปัญหา เราก็มีวิธีจัดการกับมันหลากแบบต่างกันไปครับ บางคนเลือกที่จะหนี บางคนเลือกที่จะเผชิญหน้า บางคนเลือกที่จะค้นหาในกรณีที่ยังหาไม่เจอว่าไอ้ตัวที่ทำให้เราเจ็บช้ำ ต้องระกำใจนั้นคืออะไร
Red Dog คือหนังสำหรับใครก็ตามที่ชอบ Free Willy, Dolphin Tale หรือ Hachi นะครับ กล่าวคือคนชอบหนังว่าด้วยสัตว์โลกแสนรู้และแสนจะซื่อสัตย์นั่นเอง
จบปี 7 ต่อปี 8 ซึ่งจะว่าไปปี 8 นี้มันส์กว่าปีที่แล้วด้วย เพราะปีก่อนเนื้อหามันไม่ค่อยเดินหน้าซักเท่าไหร่ และส่วนมากก็มักจะเอาภาพจากตอนเก่าๆ มาให้ดูมากกว่า แต่มาปีนี้ ปมที่ทิ้งไว้ในปีก่อน ก็ถูกเอามาขยายต่ออย่างน่าติดตามครับ
ถือเป็นภาพยนตร์ฟีลกู๊ดรุ่นเก่าที่ชวนให้ยิ้มได้เสมอๆ ครับ แม้อายุหนังจะ 30 กว่าปีโดยประมาณผ่านมาแล้วก็ตาม
ในคราวแรกผมหยิบหนังเรื่องนี้ขึ้นมาดูโดยที่ไม่รู้อะไรเกี่ยวกับมันนักครับ รู้แค่ 2 อย่าง คือหนังว่าด้วยวันคริสต์มาส ซึ่งผมชอบหนังที่มีเทศกาลนี้เป็นฉากหลังอยู่แล้ว และอีกอย่างคือมี Peter O’Toole ดาราคนโปรดของผมร่วมแสดงด้วย
เรื่องราวบทที่ 3 ที่สานต่อจาก The Christmas Shoes และ The Christmas Blessing นะครับ โดยยังคงสร้างจากบทประพันธ์เล่มต่อมาของ Donna Van Liere เช่นเคย เรียกว่าเขียนและได้รับความนิยมจนครบเป็นไตรภาคเลยครับ
นี่คือเรื่องราวต่อจาก The Christmas Shoes นะครับ สร้างจากนิยายเล่มถัดมาของ Donna Van Liere เป็นเหตุการณ์หลายปีให้หลังของเนธาน แอนดรูว์ส (Neil Patrick Harris) เด็กชายผู้พยายามหารองเท้าไปมอบให้กับแม่ที่กำลังจะตายเมื่อคราวก่อน ที่ตอนนี้โตเป็นหนุ่มและได้เป็นแพทย์สมความตั้งใจ
ในช่วงยุค 90 ที่ประเทศสหรัฐอเมริกาได้มีอีเมลล์ที่ส่งเรื่องเล่าชื่อ The Golden Slippers ฟอร์เวิร์ดไปตามเมลล์ต่างๆ จนคนส่วนใหญ่ในอเมริกาได้อ่านเรื่องราวของเมลล์ฉบับนี้ เนื้อหาว่าด้วยเด็กที่อยากซื้อรองเท้าไปให้แม่ที่กำลังจะตายจากอาการป่วย ซึ่งเธออาจอยูไม่พ้นช่วงวันคริสต์มาสของปีนั้น
A Christmas Carol คือวรรณกรรมระดับคลาสสิกของ Charles Dickens ที่ถูกนำไปดัดแปลงทำเป็นหนังบ่อยมากครับ และส่วนใหญ่ผลที่ได้ออกมาก็ค่อนข้างน่าพอใจ ส่วนสำคัญก็เพราะสาระเนื้อหาในนิยายนั้นมีดีในตัวอยู่แล้วครับ ดังนั้นไม่ว่าจะทำออกมากี่ทีมันก็ถือว่า “ดี” แต่จะดีมากดีน้อยก็ย่อมแล้วแต่คนปรุงว่าจะปรุงหนังออกมาให้กลมกล่อมได้อารมณ์และได้คุณค่าหรือไม่
เคยยื่นมือเข้าไปเช็คแฮนด์กับ “ตัวคุณที่อยู่ด้านใน” บ้างไหมครับ?